เป้าหมายหลัก

ปีการศึกษา1/2557 Topic:หน่วยภูมิปัญญา
เป้าหมาย(Understanding Goal) :
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและ เห็นคุณค่าของการนำภูมิปัญญาดังเดิมมาพัฒนาต่อพร้อมทั้งปรับใช้กับการดำรงชีวิตของตนเองให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุล

วันจันทร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)


Mind Mapping (ครู)

ภูมิหลังของปัญหา : ในสังคมปัจจุบันการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความเปลี่ยนแปลงและแตกต่างไปจากเมื่อก่อน เนื่องด้วยระบบเทคโนโลยี ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการชีวิตมนุษย์ ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกให้กับมนุษย์ได้โดยใช้เวลาเพียงเล็กน้อย แต่สิ่งเหล่านี้กลับต้องแลกมาพร้อมกับราคาที่สูงขึ้นตามไปด้วย และมนุษย์ส่วนใหญ่ได้มองข้ามภูมิปัญญาดังเดิมของตนเองที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ ซึ่งกระบวนการสำคัญที่สามารถทำให้การใช้ชีวิตของมนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุล  และเนื่องจากภูมิปัญญา คือพื้นฐานความรู้ ความสามารถและพฤติกรรมที่แต่ละคนได้รับสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ เพื่อใช้ในการปรับตัวให้เข้ากับสมดุลของธรรมชาติ  อาทิเช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสมุนไพรและตำรายาพื้นบ้าน  ซึ่งภูมิปัญญาประเภทนี้เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ของคนในอดีตและถ่ายทอดให้กับคนรุ่นหลัง โดยถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก  ถือว่าเป็นปัจจัยสี่ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ หากได้รับการพัฒนาหรือส่งเสริมจะเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตได้ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจต่อการเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสศึกษาเกี่ยวกับ แนวความคิดและภูมิปัญญาต่างๆ เพื่อนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป


เป้าหมายความเข้าใจ (Understanding Goals: เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและ เห็นคุณค่าของการนำภูมิปัญญาดังเดิมที่มีอยู่มาปรับใช้กับการดำรงชีวิตของตนเองให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสมดุล  

คำถามหลัก (ฺBig question)  : 
                          -  ภูมิปัญญามีความสำคัญอย่างไร ?
                          - ภูมิปัญญาดั่งเดิมมีผลต่อวิถีการดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างไร ?

ตารางวิเคราะห์วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้  

เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
- ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน

มาตรฐาน
- อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพ
(1.2 ม.3/5)
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ(2.1 ม.3/1)
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง       ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
(8.1 ม.3/1)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (8.1 ม.3/9)

มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ (1.1ม.3/1)
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
(1.1ม.3/4)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(1.1 ม.3/6)
­- วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน(1.1 ม.3/8)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลา(1.1 ม.3/9)
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม(1.2 ม.3/1)
มาตรฐาน พ1.1
- เปรียบเทียบการเปลี่ยน
แปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา  แต่ละช่วงของชีวิต
(1.1 ม.3/1)

มาตรฐาน ง1.1
- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกัน
อย่างมีคุณธรรม(1.1 ม.3/2)
­- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (1.1 ม.4-6/1)
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน(1.1 ม.4-6/6)
- อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(3.1 ม.3/1)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(3.1 ม.3/4)



มาตรฐาน 1.2
- วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนต่อสาวกตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
(ส1.2 ม.3/1)
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด (ส1.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชน
ที่ดี(ส1.2 ม.3/3)





เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา


- เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล
(1.2 ม.3/2)
เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น
(2.1 ม.3/1)
- ร้องเพลง  เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียง
(2.1 ม.3/2)
- แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ
 (2.1 ม.3/3)
­- อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง(2.1 ม.3/4)
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อื่น (2.1 ม.3/5)
 - มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง
(3.1 ม.3/3)
- ร่วมจัดงานการแสดง ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ(3.1 ม.3/6)            







เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา
- ภูมิปัญญาด้านประเพณีและวัฒนธรรม


มาตรฐาน
- อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ
(2.1 ม.3/4)
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง       ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
(8.1 ม.3/1)
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
(8.1 ม.3/4)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ (8.1 ม.3/9)

มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ  (1.1ม.3/1)
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
 (1.1ม.3/4)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(1.1 ม.3/6)
­- วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน(1.1 ม.3/8)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลา(1.1 ม.3/9)
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม(1.2 ม.3/1)
มาตรฐาน พ1.1
- เปรียบเทียบการเปลี่ยน
แปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา  แต่ละช่วงของชีวิต
(1.1 ม.3/1)

มาตรฐาน ง1.1
- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกัน
อย่างมีคุณธรรม(1.1 ม.3/2)
­-  อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (1.1 ม.4-6/1)
-  มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน(1.1 ม.4-6/6)
- อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(3.1 ม.3/1)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(3.1 ม.3/4)



มาตรฐาน 1.2
- วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนต่อสาวกตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
(ส1.2 ม.3/1)
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด (ส1.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชน
ที่ดี(ส1.2 ม.3/3)
- วิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ ได้อย่างมีเหตุผล   ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ (ส4.1ม.3/1)
 - วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์  ในด้านต่างๆ
(ส4.3 ม.3/1)
- วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
(ส4.3 ม.3/2)




เนื้อหา
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
ศิลปะ
สุขศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สังคมศึกษา





มาตรฐาน 4.3
- วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพลต่อการพัฒนา
ชาติไทย(ส4.3 ม.3/3)
- วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย (ส4.3 ม.3/4)
- ภูมิปัญญาด้านการแต่งกาย

- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่าง       ครอบคลุ่มและเชื่อถือได้
(8.1 ม.3/1)
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
(8.1 ม.3/4)
- สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ  ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ(8.1 ม.3/6)
- จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(8.1 ม.3/9)
- บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ  (1.1ม.3/1)
- มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
 (1.1ม.3/4)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(1.1 ม.3/6)
­- วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน(1.1 ม.3/8)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้
- วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์ อารยธรรมและความสงบสุขแก่โลก
(1.1 ม.3/2)
- อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(1.1 ม.3/3)



- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (1.1 ม.3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกัน
อย่างมีคุณธรรม(1.1 ม.3/2)
-  อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (1.1 ม.4-6/1)
-  มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน(1.1 ม.4-6/6)
- อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(3.1 ม.3/1)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
(3.1 ม.3/4)
- วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนต่อสาวกตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
(ส1.2 ม.3/1)
- ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด (ส1.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชน
ที่ดี(ส1.2 ม.3/3)





สิ่งที่รู้แล้ว / สิ่งที่อยากเรียนรู้
 


ปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์

Week
Input
Process (PBL)
Output
Outcome
1-2
โจทย์ วางแผนหน่วยการเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากสิ่งที่ได้ดู
- จากภาพแต่ละภาพนักเรียนคิดว่ามีเรื่องราวและที่มาอย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู  อาทิเช่น คลิป VDO ภูมิปัญญาไทย นิทานก้อม
 เรื่อง หัวล้านชนกัน”  เพลง หมอลำอีสาน   และภาพต่างๆ

สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน
- ห้องเรียน
- คลิป VDO ภูมิปัญญาไทย  - นิทานก้อม เรื่อง หัวล้านชนกัน
- เพลง หมอลำอีสาน
- ภาพแคน  งาไซ  กระสวย  กระติบข้าว ผีตาโขน
กิจกรรม
ครูเปิดคลิป  VDO ภูมิปัญญาไทย
- ฟัง นิทานก้อม  เรื่อง หัวล้านชนกัน” 
- พังและวิเคราะห์เพลง หมอลำอีสาน
- ดูภาพ  แคน  งาไซ  กระสวย  กระติบข้าว ผีตาโขน และร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การนำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับมุมมองแนวคิด ต่อสิ่งที่ได้ดู
อาทิเช่น คลิป VDO ภูมิปัญญาไทย นิทานก้อม  เรื่อง หัวล้านชนกัน”  เพลง หมอลำอีสาน   และภาพต่างๆ

 ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
      ภูมิปัญญาของคนไทยที่สร้างขึ้น เพื่อใช้ดำรงชีวิตไปพร้อมกับธรรมชาติ
ทักษะ
ทักษะการจัดการข้อมูล
การคิดวิเคราะห์เรื่องที่ได้ดู  อาทิเช่น คลิป VDO ภูมิปัญญาไทย นิทานก้อม  เรื่อง หัวล้านชนกัน”  เพลง หมอลำอีสาน   และภาพต่างๆ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนไทย และถูกพัฒนามาเป็นภูมิปัญญาที่สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง
ทักษะชีวิต
สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ได้ดูกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
คุณลักษณะ
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- สรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน





































Week
input
Process
Output
Outcome




3



โจทย์
ออกแบบกระบวนการเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าตนเองต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร
- นักเรียนคิดว่าหัวข้อหน่วยการเรียนรู้ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Card & Chart
เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Think  Pair Share
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard  Share
การตั้งชื่อโครงงาน
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
Mind  Mapping
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- กระดาษสี ขนาดครึ่ง A4
- กระดาษชาร์ต
- คลิป VDO “กู๊แคน” “วัยรุ่น หมอลำกลอน
- บทความเรื่อง ภูมิปัญญาผู้เฒ่าที่หายไป
- ดูและวิเคราะห์คลิป VDO “กู๊แคน” “วัยรุ่น หมอลำกลอน
- เขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ โดย 1 เรื่อง ต่อการ์ด 1 แผ่น (Card & Chart)
- จัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษา
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วกับสิ่งที่อยากรู้ ( Think Pair Share)
- ตั้งชื่อหัวข้อTopic โดยใช้วิธีการ Blackboard  Share
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ลงในกระดาษชาร์ต และเขียนสรุปองค์ความรู้ ก่อนการเรียนรู้ในรูปแบบ Mind  Mapping
ภาระงาน
 - การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามและความคิดเห็นที่ได้ฟังและอ่าน
- การตั้งชื่อหัวข้อโครงงาน
- การวิเคราะห์สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน
- การออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
-  การสรุป Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- หัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
  - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
อธิบายและปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ในการทำงานกลุ่มรวมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น

ทักษะ
ทักษะชีวิต
-การวางแผนในการทำงานกลุ่ม
-สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
เกี่ยวกับการตั้งชื่อโครงงานและออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ต่างๆ

คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
input
Process
Output
Outcome




4 - 5


โจทย์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
Key  Questions
- หากพูดถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน นักเรียนนึกถึงอะไร
- นักเรียนคิดว่า กระบวนการเรียนรู้ในการทำงานกลุ่มเพื่อแก้ไข้ปัญหา ที่เกิดขึ้นภายในการทำงานร่วมกัน คืออะไร
- นักเรียนคิดว่า สิ่งที่ได้จากการทำงานกลุ่มและสร้างชิ้นงานเพื่อถ่ายทอดแนวความคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสานของแต่ละกลุ่มคืออะไร

เครื่องมือคิด
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบแนวความคิดของตนเองตามความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสานในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- โปรแกรมตัดต่อ Vegus
- สถานที่รอบๆโรงเรียน
- อุปกรณ์ประกอบฉาก อาทิเช่น กล้องถ่ายภาพ กีตาร์  เสื้อผ้า  แคน ฯลฯ
- ฉลากแบ่งกลุ่ม โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม พร้อมทั้งจับฉลาก เลือกเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
- สืบค้นข้อมูล และวางแผนสร้างชิ้นงาน จากแนวคิดของกลุ่มตนเองที่มีต่อคำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
- สร้างชิ้นงาน
- นำเสนอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - สืบค้นข้อมูล และวางแผนสร้างชิ้นงาน จากแนวคิดของกลุ่มตนเองที่มีต่อคำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
- นำเสนอ รูปแบบ การถ่ายทอดแนวความคิดของกลุ่มตนเอง และการแบ่งบทบาทหน้าที่ของเพื่อนในกลุ่ม
 - ร่วมกันสร้างชิ้นงาน ตามเรื่องที่ได้ร่วมกันศึกษา
- รายงานความคืบหน้าของงาน และปัญหาอุปสรรคที่พบ พร้อมแนวทางแก้ไขปัญหาของแต่ละกลุ่ม
- กลุ่ม ดำเนินงานต่อ โดยการนำข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ไปร่วมปรับแก้ในชิ้นงานของตนเอง
- นำเสนอชิ้นงานและผลงานของตนเอง

ชิ้นงาน
(ตามรูปแบบที่แต่ละกลุ่มนำเสนอ)
 - กลุ่มที่ 1 คลิป VDO  สั้น นิทานก้อม
- กลุ่มที่  2 หนังสือนิทานพื้นบ้าน
- กลุ่มที่ 3 บทเพลง เนื้อร้อง และ MV ประกอบบทเพลงพื้นบ้าน
- กลุ่มที่ 4  คลิปวีดีโดนำเสนอ หมอลำกลอน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ความรู้
สามารถอธิบายภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน ผ่านแนวคิดตามความเข้าใจของตนเองในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานกลุ่มเพื่อออกแบบแนวความคิดของตนเองตามความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสานในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย
- การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบแนวความคิดของตนเองตามความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสานในรูปแบบ
ชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น นิทานก้อม  เนื้อหากลอนหมอลำ  MV ประกอบบทเพลง นิทานพื้นบ้าน ฯลฯ

คุณลักษณะ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
input
Process
Output
Outcome




6 - 7



โจทย์
ภูมิปัญญาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
Key  Questions
- ประเพณีที่เกิดขึ้นมาช้านานและปัจจุบันยังคงดำรงอยู่นั้น มีประเพณีอะไรบ้างและแต่ละประเพณีมีรูปแบบการแสดงออกและสัมพันธ์กับชีวิตของคนเราอย่างไร
- รูปแบบการนำเสนอประเพณีวัฒนธรรมที่ตนเองสืบค้น ให้น่าสนใจได้อย่างไร

เครื่องมือคิด
Brainstorms
ระดมความคิดเห็นเพื่อออกแบบแนวความคิดของตนเองตามความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสานในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- แผ่นไม้อัด
- เทียนไข
- Program power point
- รวมทั้งพูดคุยเกี่ยวกับ ประเพณีที่น่าสนใจของแต่ละภาคแต่ละจังหวัดที่น่าสนใจ
- เล่าประสบการณ์และประเพณีที่ตนเองได้สืบค้นข้อมูล
 - เสนอหัวข้อประเพณีที่แต่ละคนต้องการศึกษา
- สืบค้นข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับประเพณีและวัฒนธรรม
- นำเสนอรูปแบบการนำเสนอ
- นำเสนอข้อมูลและชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - สืบค้นข้อมูล และวางแผนสร้างชิ้นงาน จากแนวคิดของตนเองที่มีต่อคำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
- นำเสนอรูปแบบการนำเสนอข้อมูล
- สร้างชิ้นงาน ตามเรื่องที่ได้ศึกษา
- รายงานความคืบหน้าของงาน และปัญหาอุปสรรคที่พบ พร้อมแนวทางแก้ไขปัญหาของแต่คน
- ดำเนินงานต่อ โดยการนำข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ไปร่วมปรับแก้ในชิ้นงานของตนเอง
- นำเสนอชิ้นงานและผลงานของตนเอง

ชิ้นงาน
(ตามรูปแบบที่แต่ละกลุ่มนำเสนอ)
 - การแกะสลักเทียน  การทำหน้ากาก , ภาพนูนสามมิติจากหัวตะปู , Power point
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
สามารถอธิบายภูมิปัญญาด้านประเพณีวัฒนธรรมตามความเข้าใจของตนเองในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานเพื่อออกแบบแนวความคิดของตนเองตามความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาด้านประเพณีและวัฒนธรรมในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย
- การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่หลากหลายในกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
 การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และรับฟังทัศนะคติของทุกๆคนอย่างมีเหตุผล
เกี่ยวกับภูมิปัญญาด้านประเพณีและวัฒนธรรม
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบแนวความคิดของตนเองตามความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาด้านประเพณีและ
วัฒนธรรมในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น  การแกะสลักเทียน  การทำหน้ากากภาพนูนสามมิติจากหัวตะปู , Power point ,

คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


Week
input
Process
Output
Outcome




8 – 9

โจทย์
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับการแต่งกาย
Key  Questions
-  นักเรียนคิดว่าการแต่งกายในอีก 10 ปี 20 ปี และ 50 ปี ข้างหน้าจะเป็นอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าการแต่งกายของแต่ละภาคในประเทศไทยมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์อย่างไรและได้รับการเปลี่ยนแปลงหรือรับอิทธิผลมาจากด้านใด
- นักเรียนคิดว่าถ้าหาต้องการออกแบบชุดให้กับตนเอง นักเรียนจะมีแนวคิดในการออกแบบชุดนี้อย่างไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
-  นำเสนอความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับอิทธิพลและการเปลี่ยนแปลงของการแต่งกายของคนไทยในแต่ละภาคและแต่ละยุคสมัย
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและร่วมพูดคุย
- นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบชุดเพื่อสร้างเป็นโมเดลชุดตามความคิดของตนเอง

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- อุปการณ์ตัดเย็บสร้างโมเดลชุด
- ออกแบบและนำเสนอการแต่งกายในความคิดของตนเองลงในกระดาษ
- ครูเล่าเรื่องการแต่งกายในสมัยรัชกาลที่ 5 ”
- จับสลากแบ่งกลุ่มและเลือกศึกษาการแต่งกายของแต่ละภาคที่ต้องการศึกษา
- สืบค้นข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลพร้อมบันทึกในแผ่นชาร์ตเพื่อนำเสนอข้อมูล
- นำเสนอ
- ออกแบบโมเดลชุดของตนเองลงในกระดาษ
- เตรียมอุปกรณ์ มาตัดเย็บ
- นำเสนอชุดของตนเองที่ตัดเย็บ เสร็จเรียบร้อยแล้ว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- ออกแบบการแต่งกายในความคิดของตนเองลงในกระดาษ
- นำเสนอแนวคิดด้านการแต่งกายของตนเองให้เพื่อนและครูได้ร่วมรับฟัง
- จับสลากแบ่งกลุ่มและเลือกศึกษาการแต่งกายของแต่ละภาคที่ต้องการศึกษา
- สืบค้นข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลพร้อมบันทึกในแผ่นชาร์ตเพื่อนำเสนอข้อมูล
- ออกแบบโมเดลชุดของตนเองลงในกระดาษ
- ตัดเย็บชุดของตนเอง ตามรูปแบบที่ได้ออกแบบไว้
- นำเสนอชุดของตนเองที่ตัดเย็บ เสร็จเรียบร้อยแล้ว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ภาพวาดแบบชุดในแต่ละช่วงเวลา10 ปี 20 ปี และ 50 ปี ข้างหน้า
- ชาร์ตนำเสนอข้อมูล การแต่งกายของแต่ละภาคในประเทศไทย
- ภาพวาดชุดโมเดล
- ชุดโมเดล
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
สามารถอธิบายอิทธิพลและวัฒนธรรมการแต่งกายในแต่ละภาคของประเทศไทย รวมถึงออกแบบโมเดลเสื้อผ้าตามจินตนาการของตนเองได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนในการทำงานเพื่อออกแบบการแต่งกายตามแนวความคิดของตนเองในรูปแบบที่หลากหลายได้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
การคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่สำคัญซึ่งได้จากการสืบค้นเพื่อใช้ในการนำเสนอ ที่มีคุณภาพ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบชุดโมเดล ในรูปแบบต่างๆ ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนได้ทำงานร่วมกันและแสดงทัศนะคติร่วมกันเกี่ยวกับอิทธิพลและวัฒนธรรมการแต่งกายในแต่ละภาคของประเทศไทย
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


................

Week
input
Process
Output
Outcome





10 – 11


โจทย์
ภูมิปัญญาเกี่ยวกับของยาแผนปัจจุบันและภูมิปัญญาด้านสมุนไพร

 Key  Questions
- ยาสมุนไพรอะไรบ้างที่นักเรียนรู้จัก
- ยาหรือผลิตภัณฑ์เคมีอะไรบ้างที่
- นักเรียนคิดว่ายาสมุนไพรและยาเคมีมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันอย่างไรนักเรียนรู้จัก
- นักเรียน มีความคิดเห็นอย่างไรต่อผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้น
เครื่องมือคิด
Show and Share
นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับยาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เคมี
Black broad Share
จัดหมวดหมู่ ประเภทยาและผลิตภัณฑ์เคมีต่างๆ
ชักเย่อความคิด
ยาสมุนไพร กับ ยาเคมี

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- กระดาษชาร์ต/กระดาษปอร์น
- บทความ เกาะคนอายุยืน
- ผลิตภัณฑ์ยาประเภทต่างๆ อาทิเช่น  ครีมเร่งความขาว กลูต้าไธโอน ฟ้าทะลายโจร ฯลฯ

- ครูอ่านบทความ เกาะคนอายุยืน
- นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มๆละเท่าๆกัน
- เล่นเกมส์ ยาสมุนไพร และยาเคมี
- จัดหมวดหมู่ยาสมุนไพร และยาเคมี
- ชักเย่อความคิด  ในหัวข้อ ยาสมุนไพร กับ ยาเคมี
- วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์
- ออกแบบและวางแผนสืบค้นข้อมูลและทดลองสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร และ ผลิตภัณฑ์จากเคมี
 -เตรียมอุปกรณ์และลงมือปฏิบัติพร้อมบันทึกผลการทดลองลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ออกแบบบรรจุภัณฑ์ พร้อมนำเสนอ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
 - ร่วมกันคิด ชื่อยาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เคมีที่แต่ละคนรู้จักบันทึกชื่อยาลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- จัดหมวดหมู่ ประเภทยาและผลิตภัณฑ์เคมีต่างๆ
- ร่วมพูดคุยและวิเคราะห์เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท
- ออกแบบและวางแผนสืบค้นข้อมูลและทดลองสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร และ ผลิตภัณฑ์จากเคมี
- เตรียมอุปกรณ์และลงมือปฏิบัติพร้อมบันทึกผลการทดลองลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ออกแบบบรรจุภัณฑ์ พร้อมนำเสนอ ตามรูปแบบที่สนใจ อาทิเช่น แผ่นชาร์ต  คลิป VDO สั้น Power  point  ฯลฯ

ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ยาสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์เคมีที่ทดลอง
- บรรจุภัณฑ์ และชาร์ตนำเสนอชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ความรู้
ความแตกต่างของยาแผนปัจจุบันและภูมิปัญญาด้านสมุนไพรที่มีความเกี่ยวข้องกับท้องถิ่นและตนเอง

ทักษะ
ทักษะชีวิต
- การวางแผนการทำงานร่วมกัน
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะการICT
 การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการผลิตยาสมุนไพรตามภูมิปัญญาเดิมและการผลิตยาเคมีในปัจจุบัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
วิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของภูมิปัญญาด้านสมุนไพรและตำรายาพื้นบ้านในปัจจุบัน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและวางแผนสืบค้นข้อมูลและทดลองสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร และ ผลิตภัณฑ์จากเคมีรวมถึงการออกแบบบรรจุภัณฑ์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
นักเรียนแต่ละคนได้ทำงานร่วมกันและร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้าผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
คุณลักษณะ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
 - การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น